ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) ได้รับเกียรติจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ รับรางวัลเชิดชูสถาปนิกอาวุโส ในโครงการเชิดชูสถาปนิกอาวุโส เนื่องในโอกาสครบรอบ 90 ปี สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อยกย่อง เชิดชู และเผยแพร่ผลงานของสถาปนิก อันเป็นที่ประจักษ์ และมีส่วนสร้างสรรค์ต่อวงการสถาปัตยกรรมของไทย ในงานสถาปนิก'67 วันที่ 2 พฤษภาคม 2567...
ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) ได้รับเกียรติจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ รับรางวัลเชิดชูสถาปนิกอาวุโส ในโครงการเชิดชูสถาปนิกอาวุโส เนื่องในโอกาสครบรอบ 90 ปี สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อยกย่อง เชิดชู และเผยแพร่ผลงานของสถาปนิก อันเป็นที่ประจักษ์ และมีส่วนสร้างสรรค์ต่อวงการสถาปัตยกรรมของไทย ในงานสถาปนิก'67 วันที่ 2 พฤษภาคม 2567
โดยโครงการเชิดชูสถาปนิกอาวุโสนั้นมีเพื่อยกย่อง เชิดชู และเผยแพร่ผลงานของสถาปนิก อันเป็นที่ประจักษ์ และมีส่วนสร้างสรรค์ต่อวงการสถาปัตยกรรมของไทย
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกันผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์...
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกันผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture
รศ สุรศักกังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณษการงานวิจัยและงานออกแบบในพื้นที่มกรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet.ต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี
นอกจากนี้ ได้เป็นผู้ก่อตั้งและริเริ่มโครงการการ mou บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ โครงการเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่าง 11 สถาบันการศึกษาภาคีเครือข่าย จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชร และ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เพือ่การบูรณษการงานวิจัยในพื้นที่มกรดกโลกให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากทุกภาคส่วน โดยมีแนวคิดจากปัญหาในปัจจุบัน เนื้อหาของการศึกษา และงานวิจัยไม่ถูกรับรู้ในวกว้าง ส่วนหนึ่งถูกมองว่าเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากการเรียนการสอนในระดับการศึกษาระดับพื้นฐานแต่ รศ สุรศักดิ์ ได้มีแนวคิด และสร้างสรรค์เรื่องวิธีการศึกษา ที่สามารถกระทำการศึกษาในรูปแบบการเรียนการสอนไปพร้อมกับวิธีการศึกษาวิจัยทั้งในศาสตร์ของตัวเองของศาสตร์อื่น โดยการมีแนวคิดการบูรณษการการเรียนการสอนร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านการศึกษาจากสถาบันอื่นทั้งใรระดับประเทศและนานาชาติ เช่น กลุ่มนักศึกต่างชาติ เช่น IAESTE Thailand / capasia ball state university / royal college of art โดยมีการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมภายใต้โครการ World Heritage Experience ซึ่งเน้นการศึกษาในพื้นที่เมืองมกรดกโลก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ผู้เรียนสามรถได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่แตงต่างจากการเรียนแบบบริบทเดิมๆ สามารถเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายในโลกนี้ได้ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ให้ตกผลึกเป็นองค์ความรู้ของ ตนเอง เมื่อนักเรียนสามารถพึ่งตนเองก็จะเจริญ ก้าวหน้าในการแสวงหาความรู้ได้ตลอดชีวิต จนสามารถนำไปประยุคต์ใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการและปัญหา ภายใต้การการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในโลกปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างยั่งยืน
MoU between King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) and Institute for Housing and Urban Development Studies (IHS)
The Heritage Academic and Research Center (HARC) has made significant progress as an international network that connects academic studies with real-world urban development, with the goal of elevating Thailand’s urban development strategies to meet global standards. Recently, HARC organized a collaborative event from June 8-25, 2024, led by Assoc. Prof. Surasak Kangkhao, (National Outstanding Lecturer), who led the team from HARC to collaborate with educational institutions both domestically and internationally. This event focused on integrating education with practical applications on an international level.
From June 8-25, 2024, Assoc. Prof. Surasak Kangkhao, a National Outstanding Lecturer, led a team from the Heritage Academic and Research Center (HARC) in collaborating with educational institutions both domestically and internationally. Their aim was to conduct research and establish global networks focused on developing strategies for Thailand's sustainable urban development, aligned with international standards. During this period, they engaged with experts from Finland, the Netherlands, and Denmark to explore and synthesize diverse development concepts applicable to Thailand's future sustainability.
On May 22, 2024, Associate Professor Surasak Kangkhao (National Outstanding Lecture) and the team from the Community of Practice Network in Arts and Culture (Heritage Academic and Research Center: HARC), recognized as experts in architecture and culture with significant contributions to agricultural lifestyles, will present their ideas at this event. Organized by the Netherlands Embassy in Bangkok, in collaboration with the Horticultural Science Society of Thailand, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL), Chanthaburi Chamber of Commerce, and Dutch Greenhouse Delta, the "Thai-Dutch Session in Horti Asia 2024" will see international key players in horticulture and agriculture from the Netherlands and Thailand share their expertise.
Nieuwsbericht | 15-05-2024 | 14:48
Date & Time : Wednesday 22nd May 2024 (14:00 – 16:00 hr.)
Venue : Room Nile 3, BITEC, Bangkok
Registration (FREE) : http://vnu-conference-booking.eventpass.co/l/124
Thai - Dutch Session in Horti Asia 2024 “Innovative & Sustainable Horticulture; A Thai - Dutch Inspiration in Global Context” is part of AGRITECHNICA ASIA 2024 & HORTI ASIA 2024 a three days trade exhibition (May 22-24, 2024) at Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC),Bangkok Thailand. Over 300 exhibitors from 28 countries from agriculture and horticulture sector are participating.
Located in CLM Doi In C, Doi Hang Subdistrict, Mueang District, Chiang Rai Province, Khok Nong Na Community Learning Center is undergoing a remarkable transformation. We are developing the prototype area of the community based on new theories to improve the quality of life. This includes the introduction of a bamboo structure with vibrant pathways connecting the front area of the center to all 9 bases, covering a total area of 15 rai. This initiative not only contributes to the attractiveness of Chiang Rai province as a tourist destination but also embodies the ethos of 'Protecting Forests, Preserving Dharma, Conserving Wildlife' within the Sufficiency Economy Development Zone (SEDZ).
MOU บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการสู่การปฏิบัติ "การพัฒนาจังหวัดสิงห์บุรีอย่างยั่งยืน" เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์บูรณาการและการพัฒนาจังหวัดสิงห์บุรีให้อย่างยั่งยืน
วันที่ 25 เมษายน 2567 อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ) และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center: HARC) ร่วมกับศาสตราจารย์ ดร. ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี และดร.ทรงศิริ พันธุเสวี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ร่วมกับคณะทำงานร่วมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการสู่การปฏิบัติ "การพัฒนาจังหวัดสิงห์บุรีอย่างยั่งยืน" เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์บูรณาการและการพัฒนาจังหวัดสิงห์บุรีให้อย่างยั่งยืน โดยเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นให้สอดคล้องและบรรลุเป้าหมาย SDGs และเพื่อประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นรูปธรรม พร้อมพัฒนาเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติในพื้นที่อย่างระบบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์บูรณาการ การแก้ไขปัญหาความยากจน และส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนา รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรู้และการทำงานร่วมกันในกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนาจังหวัดสิงห์บุรี โดย รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ได้นำเสนอแนวคิดและแผนการพัฒนาเบื้องต้นเกี่ยวกับความสำคัญของจังหวัด เช่น การเป็นเมืองชลประทานและการสืบทอดและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของชุมชน รวมทั้งการเสนอแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในเขตเมืองให้มีประโยชน์สูงสุด เช่นการ ใช้ประโยชน์พื้นที่ ฝาครอบคลองในบริเวณตัวเมือง การจัดปรับผังชุมชน และการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าให้เกิดกิจกรรมที่ต่อเนื่องและเป็นพื้นที่ใช้งานร่วมกันของชุมชน โดยมีการหารือและตกลงแนวทางการร่วมมือจากภาคีเครื่อข่ายที่เกี่ยวข้องในแต่ละโครงการ เพื่อการดำเนินการในทิศทางของเป้าหมายต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ห้องคำมอกหลวง อาคาร M-Square มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com รศ.ดร จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมเสนอแนวคิดในประชุมรับฟังข้อมูลและเตรียมความพร้อมการจัดงานจัดประชุมนานาชาติ (AIPH International Green City Conference, 2025) ร่วมกับ พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ประธานกรรมาธิการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ นวัตกรรม วุฒิสภา เป็นประธานการประชุม ร่วมกับ รองผู้ว่าจังหวัดเชียงราย อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง , คุณชัชวาลย์ พริ้งพวงแก้ว ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์มูลนิธิหมอเสม พริ้งพวงแก้ว ,สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน), สภาสถาปนิก, สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง , มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 21 ธันวาคม 2566 ณ.ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาพื้นที่ชุมชน โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน พุทธอุทยานดอยอินทรีย์ ต.ดอยฮาง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com รศ.ดร จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia เดินทางเข้าพบ พระอาจารย์วิบูล ธัมมเตโช ที่ปรึกษาแปลง โคก หนอง นา พัฒนาชมชน CLM ” ประชุมความคืนหน้าในการพัฒนาพื้นที่และเสนอแผนการดำเนินงานพัฒนาผังแม่บทโครงการอาคารศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต้นแบบพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคก หนอง นา (CLM) ดอยอินทรีย์ เป็นส่วนหนึ่งของแผนบูรณาการการปรับปรุงภูมิทัศน์ศูนย์เรียนรู้พื้นที่เรียนรู้ โดย รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) ได้ริเริ่มการออกแบบปรับภูมิทัศน์โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยเป็นโครงสร้างไม้ไผ่ที่มีชีวิตมีเส้นทางเดินเชื่อมต่อระหว่างบริเวณหน้าศูนย์เรียนรู้ฯ ไปยังฐานเรียนรู้ทั้ง 9 ฐาน รวมถึงพื้นที่ต้นแบบฯ โดยรอบทั้งหมด 15 ไร่ สามารถเชื่อมโยงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกแห่งของจังหวัดเชียงราย จากการพัฒนาพื้นที่ให้เกิดเป็นอัตลักษณ์ ภายใต้แนวคิด “พระพุทธบารมีรักษาป่า รักษาธรรม รักษาชีวิตสัตว์” ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง (SEDZ) ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผ่านกระบวนความคิดในการใช้ของเก่านำกลับไปใช้ประโยชน์ “In C Upcycling Bamboo Pavilion” ด้วยของเหลือใช้เป็นการส่งต่อสิ่งดี ๆ ลดขยะ ลดปัญหาโลกร้อน ร่วมสร้าง " วัฒนสถาปัตยกรรม “ (CULTURARCHITECTURE ) ให้เกิดเป็นโครงการตัวอย่างและเป็นพื้นที่พัฒนานำร่องเพื่อส่งเสริมแนวคิดนี้ในการพัฒนาพื้นที่อื่น ๆ ต่อไปได้อย่างยั่งยืน
อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ลงพื้นที่ จังหวัดพะเยา ประชุมความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบ วัฒนสถาปัตยกรรม ในโครงการออกแบบผังแม่บท วัดธรรมรุ่งเรือง บ้านภูเงิน หมู่ที่ 13 ตำบลแม่ปีม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
20 ธันวาคม 2566 อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ลงพื้นที่ จังหวัดเชียงราย ติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานโครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานวัตกรรมอิฐพื้นถิ่น โดยการพัฒนารูปแบบการใช้ร่วมกับนวัตกรรมการก่อสร้างสมัยใหม่ผ่านศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ผ่านแนวคิด วัฒนสถาปัตยกรรม “ Culturarchitecture ”
วันที่ 21 ธันวาคม 2566 ณ.ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาพื้นที่ชุมชน โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน พุทธอุทยานดอยอินทรีย์ ต.ดอยฮาง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
อาจารย์ เอส รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com รศ.ดร จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia และคณะผู้บริหารจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภายใต้ความร่วมมือตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการสู่การปฏิบัติ " MOU" การพัฒนาจังหวัดเชียงรายอย่างยั่งยืนกับภาคีเครือข่ายสถาบันการศึกษาและบริษัท เชียงรายพัฒนาเมือง " ซีอาร์ซีดี " จำกัด เข้าร่วมกิจกรรมในพิธีเปิดโครงการขับเคลื่อน CHIANG RAI WELLNESS CITY เชียงรายเมืองแห่งสุขภาพ
นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นประธานในการเปิดการประชุมรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน (Market Sounding) สำหรับการให้เอกชนร่วมลงทุนโครงการพัฒนาและบริหารจัดการที่พักริมทางในเขตทางพิเศษบริเวณบางโปรง และ โครงการพัฒนาและบริหารจัดการที่พักริมทางในเขตทางพิเศษ และ Park and Ride บริเวณข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยได้เชิญผู้ประกอบการ นักลงทุน สถาบันการเงิน ภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เข้าร่วมการประชุม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายละเอียดของโครงการและนำข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์จากภาคเอกชนมาพิจารณาประกอบการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ ตามขั้นตอนการเสนอโครงการตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ต่อไป
วันที่ ( 27 ม.ค. ) ณ บ้านสิงห์ไคล ถนนสิงห์ไคล อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย นายพุฒิพงศ์ ศิริมาตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการสู่การปฏิบัติ " MOU" การพัฒนาจังหวัดเชียงรายอย่างยั่งยืนกับภาคีเครือข่ายสถาบันการศึกษาและบริษัท เชียงรายพัฒนาเมือง " ซีอาร์ซีดี " จำกัด...
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการสู่การปฏิบัติ
จังหวัดเชียงราย ภาคีเครือข่ายสถาบันการศึกษา และ เชียงรายพัฒนาเมือง
วันศุกร์ที่ 27 มกราคม 2566 ณ บ้านสิงหไคล ถนนสิงหไคล อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงราย ภาคีเครือข่ายสถาบันการศึกษา และซีอาร์ซีดี จัดพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ผลักดันพัฒนายุทธศาสตร์บูรณาการการพัฒนาจังหวัด เชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน ตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ประสานความร่วมมือในการพัฒนาและขยายผลโครงการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง (SEDZ) แก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ โดยพัฒนาความร่วมมือในการดำเนินโครงการการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ทั้งในระดับยุทธศาสตร์ (Strategy - based) และระดับพื้นที่ (Area - based) ขับเคลื่อนงานด้วยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม รวมทั้ง การขับเคลื่อนวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ และวัฒนธรรมในเชิงอนุรักษ์ ควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างกลมกลืน เป็นกลไกหลักในการรักษาความสมดุลของพื้นที่ที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาได้อย่างยั่งยืน
กลุ่มเครือข่ายที่ร่วมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 น.-15.30 น. ณ. ห้องประชุมปรีดี พนมยงค์ ชั้น 3 อาคารโดมบริหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
สืบเนื่องจากการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง(ที่ปรึกษาโครงการ) มีแนวคิดร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดทำ โครงการประชุมเพื่อศึกษาและวิเคราะห์การพัฒนาและบริหารจัดการที่พักริมทางในเขตทางพิเศษ และ Park and Ride บริเวณข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยมุ่งเน้นประเด็นการศึกษาวิจัย ที่จะสามารถทำให้เกิดขึ้นได้จริงเป็นรูปธรรม ที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัยและได้รับคุณภาพในการใช้ชีวิตที่ดี เป็นชุมชนเมืองที่น่าอยู่อาศัย และมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
5th Thailand Art and Design Exhibition การแสดงผลงานศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 3 กันยายน 2567 เวลา 15.00 น. ณ หอศิลป์วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิด "Cultural Nature & Natural Culture" หรือ "วัฒนธรรมธรรมชาติ ธรรมชาติแห่งวัฒนธรรม"
งานเสวนาและบรรยายในนิทรรศการสถาปัตยกรรม “TADE Thailand Art & Design Exhibition” ครั้งที่ 4 ประจำปี พศ.2566 และพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 09 กันยายน 2566 และนิทรรศการส่วนแสดงผลงาน เข้าชมได้ถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2566 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) ชั้น 5
การแสดงผลงานภายใต้แนวคิดพื้นฐานที่เชื่อมโยงกับแนวคิดการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในโลกปัจจบันสู่อนาคต “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture Beyound” โดยผ่านการคัดเลือกผลงานจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา สถาปัตยกรรม ศิลปวัฒนธรรมและการออกแบบ จากผลงานที่มีคุณค่ามีจุดเด่นอยู่ที่แนวคิดในการสร้างสรรค์และสามารถสื่อถึงความร่วมสมัยโดยคำนึงถึงที่การสอดรับและยืดหยุ่นกับยุคสมัยของการเปลี่ยนแปลงของโลกได้อย่างยั่งยืนเป็นสำคัญ
Sukhothai Loy Krathong Festival 2022
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC)
ประชุมความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบ วัฒนสถาปัตยกรรม ในโครงการออกแบบผังแม่บทและ งานตกแต่งพระเจดีย์วัดวัดป่าชัยรังสี จ.กำแพงเพชร รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ได้ร่วมประชุมแผนงานความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบผังแม่บทเสนอหารือแลกเปลี่ยนแนวคิดกับ พระครูบาเงิน วัดป่าชัยรังสี เพื่อใช้เป็นแนวทางสร้างผังแม่บทที่บูรณาการร่วมกับวัดและชุมชนโดยรอบ โดยใช้แนวคิดวัฒนสถาปัตยกรรมที่สอดคล้อง กับการใช้ประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่ทั้งภายในและภายนอก การอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนโดยรอบ และการสร้างคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เกิดเป็นรูปแบบศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชัดเจน เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานวัตกรรมอิฐในพื้นที่เมืองมรดกโลก ศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมในพื้นมรดกโลก เพื่อผลักดันให้เกิดศักยภาพและจุดแข็งของโรงอิฐในพื้นถิ่นให้เกิดเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะสู่การพัฒนาด้านนวัตกรรม ด้านคุณภาพ และด้านต้นทุน วัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC)
ประชุมความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบ วัฒนสถาปัตยกรรม ในโครงการออกแบบผังแม่บทและ งานตกแต่งพระเจดีย์วัดวัดป่าชัยรังสี จ.กำแพงเพชร รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ได้ร่วมประชุมแผนงานความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบผังแม่บทเสนอหารือแลกเปลี่ยนแนวคิดกับ พระครูบาเงิน วัดป่าชัยรังสี เพื่อใช้เป็นแนวทางสร้างผังแม่บทที่บูรณาการร่วมกับวัดและชุมชนโดยรอบ โดยใช้แนวคิดวัฒนสถาปัตยกรรมที่สอดคล้อง กับการใช้ประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่ทั้งภายในและภายนอก การอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนโดยรอบ และการสร้างคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เกิดเป็นรูปแบบศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชัดเจน เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานวัตกรรมอิฐในพื้นที่เมืองมรดกโลก ศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมในพื้นมรดกโลก เพื่อผลักดันให้เกิดศักยภาพและจุดแข็งของโรงอิฐในพื้นถิ่นให้เกิดเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะสู่การพัฒนาด้านนวัตกรรม ด้านคุณภาพ และด้านต้นทุน วัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture
วัดป่าชัยรังสี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลลานดอกไม้ อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร บริเวณพื้นที่ป่าริมแม่น้ำปิงฝั่งตะวันออก มีทางเข้าออกหลักถึง 3 ทาง ตามถนนฝั่งทิศใต้และตะวันออกรวม 2 สายและทางถนนภายในชุมชนฝั่งทิศเหนือ 1 สาย ชุมชนพักอาศัยอยู่บริเวณโดยรอบวัดใช้เส้นทางสัญจรผ่านวัดไปสู่ถนนสายหลักที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันวัดป่าชัยรังสี มีสิ่งก่อสร้างจากศรัทธาของพุทธศาสนิกชนในชุมชนโดยรอบและจากนอกพื้นที่ พัฒนาและสร้างสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้นตามประโยชน์ใช้สอยและกิจกรรมของพระสงฆ์เป็นหลัก แต่เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่มีต้นไม้ขนาดกลางและขนาดใหญ่ปกคลุมทั่วบริเวณเขตธรณีสงฆ์ รวมถึงการจัดการที่ไม่ได้มีวางแผนล่วงหน้า จึงทำให้เกิดอาคารขนาดเล็กกระจายตัวกันอย่างไม่มีความเชื่อมโยงอยู่ทั่วพื้นที่ของวัด ส่งผลให้การสัญจรและการใช้พื้นที่ภายในวัดขาดจุดศูนย์กลาง พระอาจารย์เงิน เจ้าอาวาสมุ่งหวังให้วัดป่าชัยรังสี เป็นสถานที่ที่สงบและเหมาะสมที่อยู่ไม่ห่างไกลจากชุมชน จึงเกิดแนวคิดในการก่อสร้างองค์เจดีย์ เพื่อพุทธศาสนิกชนผู้มาเยือน ส่งผลให้เกิดการสานต่อสู่การริเริ่มโครงการพัฒนาผังแม่บทและศาสนาสถานที่สำคัญ โดยมีความตั้งใจให้ก่อสร้างองค์เจดีย์และอุโบสถหลังใหม่เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของพื้นที่ทำกิจกรรมทางศาสนา เป็นดั่งสัญลักษณ์ของพื้นที่ และเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาผังแม่บทในจัดการพื้นที่ใช้สอยให้สอดคล้องกันทั้งด้านการเข้าถึงและการใช้พื้นที่ภายในวัด
https://issuu.com/kangkhao.s/docs/culturarchitect-2021-issu
https://www.facebook.com/watpakang
#harc #surasak #homesproject #kangkhao #heritage #culturachitecture
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกัน ผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ และ
Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture
รศ สุรศักกังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณษการงานวิจัยและงานออกแบบในพื้นที่มกรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet.ต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกัน ผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ และ
Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture
รศ สุรศักกังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณษการงานวิจัยและงานออกแบบในพื้นที่มกรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet.ต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี
นอกจากนี้ ได้เป็นผู้ก่อตั้งและริเริ่มโครงการการ mou บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ โครงการเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่าง 11 สถาบันการศึกษาภาคีเครือข่าย จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชร และ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เพือ่การบูรณษการงานวิจัยในพื้นที่มกรดกโลกให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากทุกภาคส่วน โดยมีแนวคิดจากปัญหาในปัจจุบัน เนื้อหาของการศึกษา และงานวิจัยไม่ถูกรับรู้ในวกว้าง ส่วนหนึ่งถูกมองว่าเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากการเรียนการสอนในระดับการศึกษาระดับพื้นฐานแต่ รศ สุรศักดิ์ ได้มีแนวคิด และสร้างสรรค์เรื่องวิธีการศึกษา ที่สามารถกระทำการศึกษาในรูปแบบการเรียนการสอนไปพร้อมกับวิธีการศึกษาวิจัยทั้งในศาสตร์ของตัวเองของศาสตร์อื่น โดยการมีแนวคิดการบูรณษการการเรียนการสอนร่วมกับ ภาคีเครือข่ายด้านการศึกษาจากสถาบันอื่นทั้งใรระดับประเทศและนานาชาติ เช่น กลุ่มนักศึกต่างชาติ เช่น IAESTE Thailand / capasia ball state university / royal college of art โดยมีการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมภายใต้โครการ World Heritage Experience ซึ่งเน้นการศึกษาในพื้นที่ เมืองมกรดกโลก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ผู้เรียนสามรถได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่แตงต่างจากการเรียนแบบบริบทเดิมๆ สามารถเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายในโลกนี้ได้ และสามารถนำ ความรู้ไปประยุกต์ให้ตกผลึกเป็นองค์ความรู้ของ ตนเอง เมื่อนักเรียนสามารถพึ่งตนเองก็จะเจริญ ก้าวหน้าในการแสวงหาความรู้ได้ตลอดชีวิต จนสามารถนำไปประยุคต์ใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการและปัญหา ภายใต้การการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในโลกปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างยั่งยืน
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
เมื่อเสน่ห์ของวันวานได้ก้าวเดินมาสู่วันนี้แล้วอย่างสวยงาม คำถามคือในอนาคตจากนี้เมืองเก่าสงขลาควรจะฉายภาพอย่างไรเพื่อก้าวสู่ฐานะมรดกโลก? ดร.จเร สุวรรณชาต รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หนึ่งในภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ มีมุมมองต่อประเด็นนี้ว่า “เมืองเก่าสงขลามีความโชคดี เพราะมีคู่เปรียบเทียบอย่างปีนังและมะละกาที่เป็นเมืองมรดกโลกอยู่ก่อนแล้ว ตัวเทียบเช่นนี้ทำให้อัตลักษณ์ของสงขลายิ่งเด่นชัดขึ้นในเรื่องความหลากหลาย โดยเฉพาะเรื่องของเชื้อชาติที่เรามีทั้งคนไทย คนพุทธ คนจีน คนมุสลิม อยู่ร่วมกันมายาวนาน มันสะท้อนให้เห็นผ่านทั้งวัฒนธรรมการกิน การออกแบบบ้านเรือนสถาปัตยกรรม ฯลฯ ซึ่งต่างจากเมืองอื่นที่ชนชาติต่างๆ เขายังมีเขตแดนระหว่างกันบ้าง เช่นมีย่านคนจีนเรียกว่าไชน่าทาวน์ หรือย่านคนแขกเรียกว่าลิตเติลอินเดีย ...แต่ที่สงขลาไม่ใช่ คุณเดินเล่นบนถนนเส้นเดียวก็จะสัมผัสได้ถึงมรดกของทุกชนชาติ มันแสดงถึงประวัติศาสตร์ที่ว่าเราอยู่อย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร นี่คือเสน่ห์ของเราที่ไม่มีที่ใดเหมือน” ดร.จเร อธิบายถึงมรดกเมืองเก่าที่เขาภูมิใจ
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
เบื้องหลังเสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาบริเวณถนนนครนอก ถนนนครใน และถนนนางงาม ที่สะดุดตาด้วยสถาปัตยกรรมเก่าแก่สไตล์ลูกผสมชิโน-ยูโรเปี้ยน คือความร่วมมือร่วมใจของลูกหลานในชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่กำลังจับมือกันผลักดันให้เมืองเก่าแห่งนี้ก้าวสู่ความเป็นเมืองมรดกโลก แต่หมุดหมายนี้จะต้องใช้อะไรเป็นต้นทุนบ้าง ภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ เคยบอกกับเราว่า “มรดกของเมืองเก่าสงขลานั้น หากจะใช้คำภาษาอังกฤษก็คือ Living Heritage หรือความเป็นเมืองเก่าที่มีชีวิตนั่นเอง”
นั่นเป็นความจริงที่ยากจะปฏิเสธ เพราะหากถามใครที่ไปเยี่ยมเยือนสงขลาในช่วงสิบปีให้หลังนี้ ไม่ว่าจะเดินไปตามตรอกซอยไหนคุณก็มักจะพบอาคารเก่าแก่งดงามที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้ในรูปแบบต่างๆ บ้างถูกปรับปรุงเป็นร้านกาแฟ บ้างเป็นร้านอาหาร หรือเป็นร้านขายของสไตล์ใหม่ๆ โดยคนรุ่นสองรุ่นสาม โดยทุกหลังยังคงแฝงกลิ่นอายความดั้งเดิมที่ผสานศิลปะแบบไทย จีน และมลายู ไว้อย่างกลมกลืน "คุณจะเห็นผู้คนที่ขายข้าวปลาอาหารสูตรโบราณ เช่นขนมสัมปันนี ขนมทองเอก ขนมการอจี๋ ขนมลูกโดน ซาลาเปาลูกใหญ่แบบจีน สลับไปกับภูมิทัศน์ใหม่ๆ ของร้านค้าแบบฝรั่ง คาเฟ่ หรืออาร์ตสเปซ ที่ผูกมิตรอยู่ด้วยกันได้แบบไม่เคอะเขิน” คนสงขลารุ่นใหม่ๆ บอกไว้แบบนั้น
อย่างไรก็ดี เมื่อเสน่ห์ของวันวานได้ก้าวเดินมาสู่วันนี้แล้วอย่างสวยงาม คำถามคือในอนาคตจากนี้เมืองเก่าสงขลาควรจะฉายภาพอย่างไรเพื่อก้าวสู่ฐานะมรดกโลก? ดร.จเร สุวรรณชาต รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หนึ่งในภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ มีมุมมองต่อประเด็นนี้ว่า “เมืองเก่าสงขลามีความโชคดี เพราะมีคู่เปรียบเทียบอย่างปีนังและมะละกาที่เป็นเมืองมรดกโลกอยู่ก่อนแล้ว ตัวเทียบเช่นนี้ทำให้อัตลักษณ์ของสงขลายิ่งเด่นชัดขึ้นในเรื่องความหลากหลาย โดยเฉพาะเรื่องของเชื้อชาติที่เรามีทั้งคนไทย คนพุทธ คนจีน คนมุสลิม อยู่ร่วมกันมายาวนาน มันสะท้อนให้เห็นผ่านทั้งวัฒนธรรมการกิน การออกแบบบ้านเรือนสถาปัตยกรรม ฯลฯ ซึ่งต่างจากเมืองอื่นที่ชนชาติต่างๆ เขายังมีเขตแดนระหว่างกันบ้าง เช่นมีย่านคนจีนเรียกว่าไชน่าทาวน์ หรือย่านคนแขกเรียกว่าลิตเติลอินเดีย ...แต่ที่สงขลาไม่ใช่ คุณเดินเล่นบนถนนเส้นเดียวก็จะสัมผัสได้ถึงมรดกของทุกชนชาติ มันแสดงถึงประวัติศาสตร์ที่ว่าเราอยู่อย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร นี่คือเสน่ห์ของเราที่ไม่มีที่ใดเหมือน” ดร.จเร อธิบายถึงมรดกเมืองเก่าที่เขาภูมิใจ
ดร. จเร สุวรรณชาต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
https://www.slideshare.net/FURD_RSU/heritage-trust
http://www.bigconnectivity.org/beta/sites/default/files/2017-03/Songkhla%20heritage%20trust%20pdf.pdf
is an associate professor of architectural education at KMITL. He earned his B.S. in Architecture from University of San Augustin, Philippines, and M.Arch. from the University of Philippines, Diliman. His scholarly interests range from architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches on strategic models for creative tourism in Sukhothai, Si Satchanalai and Kamphaeng Phet historic park and the adjacent UNESCO World Heritage Site. Apart from his academic career, he is a licensed architect with extensive experiences in professional practice