Thailand Art & Design Exhibition
การแสดงศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย





การแสดงผลงานศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย ในครั้งนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 4 ต่อเนื่องจากความสำเร็จในการจัดงานใน 3 ครั้งที่แล้วมา

โดยในครั้งนี้มีการแสดงผลงานภายใต้แนวคิดพื้นฐานที่เชื่อมโยงกับแนวคิดการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในโลกปัจจบันสู่อนาคต “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture Beyound” โดยผ่านการคัดเลือกผลงานจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา สถาปัตยกรรม ศิลปวัฒนธรรมและการออกแบบ จากผลงานที่มีคุณค่ามีจุดเด่นอยู่ที่แนวคิดในการสร้างสรรค์และสามารถสื่อถึงความร่วมสมัยโดยคำนึงถึงที่การสอดรับและยืดหยุ่นกับยุคสมัยของการเปลี่ยนแปลงของโลกได้อย่างยั่งยืนเป็นสำคัญ

ความเป็นมาและความสำคัญในการจัด โครงการ 4th Thailand Art and Design Exhibition (การแสดงศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4) ประจำปี 2565



การเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ งานวิชาการในปัจจุบัน มิได้มีขอบเขตเพียงสถาบันการศึกษาแต่เป็นการบูรณาการในส่วนของวิชาการร่วมกับวิชาชีพ เพื่อเป็นการผสานความเข้าใจและเป็นพื้นฐานการสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน โดยการจัดการแสดงศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 ประจำปี 2565 ในครั้งนี้จะเป็นครั้งสำคัญที่ องค์กรหลักในการจัดงานจะมีการขับเคลื่อน ในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ และการออกแบบ ในประเทศไทย คือ ส่วนวิชาการที่ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา สภาคณดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย (Council of Deans of Architecture of Thailand(CDAST)) สภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย(Council of Arts and Design Deans of Thailand (CADDT)) สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎแห่งประเทศไทย และ ส่วนของวิชาชีพที่มี สภาสถาปนิก(Architect Council of Thailand) เป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการสนับสนุน ให้ข้อเสนอแนะ วางกรอบ แนวทาง มุมมองด้านวิชาชีพ และสร้างความเข้มแข็งให้กับวงการวิชาชีพ ในการจัดโครงการได้เปิดโอกาสให้คณาจารย์ศิลปินและนักออกแบบมาร่วมแสดงผลงานตามแนวความคิดและรูปแบบเฉพาะตัวพร้อมทั้งมีการประเมินคุณภาพผลงานโดยคณะกรรมการจากส่วนวิชาการ และส่วนวิชาชีพครั้งสำคัญของประเทศไทย

Culturarchitecture does not step back to maintain the past. It is moving forward and leaving footprints behind to balance the past, present, and future. Culture always keeps changing and this change is permanent. It changes through time, environment, human behavior, and technology. The way to the preservation of culture by preventing any change is not the answer. Indeed, the culture that can be adapted, adjusted, and reshaped is the one that survives. Architecture is the physical evidence that reveals the change of time and culture. However, to reveled those footprints, architecture does not have to bring all the past elements. But modified it to fit into present-day behavior could increase the value and advantage. Moreover, it is the key to dive the culture from the past to the future. Since the covid19-pandemic it is slowly changing our way of living. Though stricter infection protocols and new health-worker safety measures were the primary strategies, it changes whole new human behavior. By that, the culturarchutecture beyond is the path to keeping the culture survive by balancing the time. Remind the past , Click with present and Move to future.

ร่วมประชุมแถลงแนวคิดด้านนโยบายและการขยายผลความร่วมมือต่อยอดโครงการร่วมกันในอนาคตอย่างเป็นรูปธรรม

  • สภาสถาปนิก
  • สภาคณบดคีณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย
  • สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่ง ประเทศไทย
  • สภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแหง่ประเทศไทย

ประภากร วทานยกุล

นายกสภาสถาปนิก

ศ.ดร.ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี

ประธานสภาคณบดี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย

ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์

ประธานสภาคณบดี
ศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย

ผศ.ดร.สุปิยา ทาปทา

ประธานสภาศิลปะและ วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย

เสวนา "วัฒนสถาปัตยกรรม"

ทรรศนะ ความหมายของวัฒนสถาปัตยกรรม
และ แนวคิดของผลงานวัฒนสถาปัตยกรรม

ประภากร วทานยกุล

ศิลปินแห่งชาติ
สาขาทัศนศิลป์
(สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) 2563

รศ.สุรศักดิ์ กังขาว

อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ
สาขาศิลปกรรมศาสตร์ 2563

ศ.เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์

ศิลปินแห่งชาติ
สาขาทัศนศิลป์
(สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น) 2564

สุริยะ อัมพันศิริรัตน์

รางวัลศิลปาธร
สาขาสถาปัตยกรรม 2557

ผศ.ดร.เอกชัย มหาเอก

รองอธิการบดี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การเสวนาทางทัศนศิลป์และการออกแบบ

"โลกศิลปะกับ จักรวาลโลกคู่ขนาน (Multiverse)"

ผศ.ดร.โกเมศ กาญจนพายัพ
Asst.Prof.Dr Gomesh Karnchanapayap

คณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผศ.ดร.อติเทพ แจ้นาลาว
Assist.Prof.Dr. Atithep Chaetnalao

คณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผศ.ดร.ดลพร ศรีฟ้า
Assist. Prof. Dr. Donlaporn Srifar

สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

การเสวนางานออกแบบผลิตภัณฑ์

หัวข้อ "วัฒนผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์งานออกแบบสร้างสรรค์จากภาคสนาม"

รศ.ดร.จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง

ภาควิชาครุศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.อังกาบ บุญสูง

สาขาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ผศ.ดร.กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค

คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ผศ.ดร.กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

รศ.ดร.รจนา จันทราสา

ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ดร.ธนกฤต แก้วพิลารมย์

คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

กำหนดการงานเสวนาและพิธีเปิด

เปิดงาน 9 กันยายน 2565 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ชั้น 5

เวลา กิจกรรม
11.00 HACKATHON
นวัตกรรมสินค้าและบริการเพื่อการท่องเที่ยว
13.00 Heritage ASEAN Research Community (HARC)
CFG+HARC
  • HARC FOUNDER
  • HARC MEMBER
  • HARC VOLUNTEER MEMBER
  • CFG ( Change for Good กระทรวงมหาดไทย )
14.30 การเสวนาทางทัศนศิลป์และการออกแบบ หัวข้อ "โลกศิลปะกับ จักรวาลโลกคู่ขนาน(Multiverse)"
  • ผศ.ดร.โกเมศ กาญจนพายัพ
  • ผศ.ดร.อติเทพ แจ้ดนาลาว
  • ผศ.ดร.ดลพร ศรีฟ้า
15.30 การเสวนางานออกแบบผลิตภัณฑ์ หัวข้อ "วัฒนผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์งานออกแบบสร้างสรรค์จากภาคสนาม"
  • รศ.ดร.รจนา จันทราสา
  • ดร.ธนกฤต แก้วพิลารมย์
  • รศ.ดร.จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง
  • ผศ.ดร.อังกาบ บุญสูง
  • ผศ.ดร.กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค
  • ผศ.ดร.กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์
  • ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์
16.30 ร่วมประชุมแถลงแนวคิดด้านนโยบายและการขยายผลความร่วมมือต่อยอดโครงการร่วมกันในอนาคตอย่างเป็นรูปธรรม
  • อ.เสาวณิต ทองมี
    คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์ กล่าวเปิดงานประชุม

ผู้ร่วมประชุมแถลงแนวคิดฯ

  • นายกสภาสถาปนิก
  • ประธานสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย
  • ประธานสภาศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย
  • ประธานสภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย
17.30 ปาฐกถาพิเศษ เรือง "ศิลปวัฒนธรรมกับการพัฒนาประเทศ" พร้อม กล่าวเปิดงาน

ประธานและแขกผู้มีเกียรติ ร่วม เปิดงาน นำชมและบรรยายผลงานนิทรรศการโดยเจ้าของผลงาน
  • รศ. ดร.อุดมวิทย์ ไชยสกุลเกียรติ
    อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ กล่าวรายงานประธานเปิดงาน

ประธานเปิดงาน

  • นายชวน หลีกภัย
    ประธานรัฐสภา
18.00 เสวนา "วัฒนสถาปัตยกรรม" ทรรศนะและความหมายของวัฒนสถาปัตยกรรม นำเสนอแนวคิดของผลงานวัฒนสถาปัตยกรรม
  • คุณประภากร วทานยกุล
    นายกสภาสถาปนิก / ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) 2563
  • รศ. สุรศักดิ์ กังขาว
    อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาศิลปกรรมศาสตร์ 2563
18.50 บทสัมภาษณ์
  • มุมมองในความหมายของวัฒนสถาปัตยกรรม
  • ผลงานที่สะท้อนถึงสังคมวัฒนธรรมกับชีวิตการเป็นอยู่ของชุมชนพื้นถิ่น
  • ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์
    ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น) 2564
19.00 เสวนา "วัฒนสถาปัตยกรรม"
  • ทรรศนะและความหมายของวัฒนสถาปัตยกรรม
  • นำเสนอแนวคิดของผลงานวัฒนสถาปัตยกรรม
  • คุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน์
    รางวัลศิลปาธร สาขาสถาปัตยกรรม 2557
  • ผศ.ดร.เอกชัย มหาเอก
    รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
19.50 ปิดงานเสวนา
  • อาจารย์ ดร.โสรัจ พฤฒิโกมล กล่าวปิดงานเสวนา

สถานที่

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ชั้น 5
7 – 19 กันยายน 2565