รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC)
ประชุมความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบ วัฒนสถาปัตยกรรม ในโครงการออกแบบผังแม่บทและ งานตกแต่งพระเจดีย์วัดวัดป่าชัยรังสี จ.กำแพงเพชร รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ได้ร่วมประชุมแผนงานความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบผังแม่บทเสนอหารือแลกเปลี่ยนแนวคิดกับ พระครูบาเงิน วัดป่าชัยรังสี เพื่อใช้เป็นแนวทางสร้างผังแม่บทที่บูรณาการร่วมกับวัดและชุมชนโดยรอบ โดยใช้แนวคิดวัฒนสถาปัตยกรรมที่สอดคล้อง กับการใช้ประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่ทั้งภายในและภายนอก การอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนโดยรอบ และการสร้างคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เกิดเป็นรูปแบบศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชัดเจน เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานวัตกรรมอิฐในพื้นที่เมืองมรดกโลก ศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมในพื้นมรดกโลก เพื่อผลักดันให้เกิดศักยภาพและจุดแข็งของโรงอิฐในพื้นถิ่นให้เกิดเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะสู่การพัฒนาด้านนวัตกรรม ด้านคุณภาพ และด้านต้นทุน วัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC)
ประชุมความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบ วัฒนสถาปัตยกรรม ในโครงการออกแบบผังแม่บทและ งานตกแต่งพระเจดีย์วัดวัดป่าชัยรังสี จ.กำแพงเพชร รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ , ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ) www.kangkhao.com และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ได้ร่วมประชุมแผนงานความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบผังแม่บทเสนอหารือแลกเปลี่ยนแนวคิดกับ พระครูบาเงิน วัดป่าชัยรังสี เพื่อใช้เป็นแนวทางสร้างผังแม่บทที่บูรณาการร่วมกับวัดและชุมชนโดยรอบ โดยใช้แนวคิดวัฒนสถาปัตยกรรมที่สอดคล้อง กับการใช้ประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่ทั้งภายในและภายนอก การอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนโดยรอบ และการสร้างคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เกิดเป็นรูปแบบศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชัดเจน เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานวัตกรรมอิฐในพื้นที่เมืองมรดกโลก ศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมในพื้นมรดกโลก เพื่อผลักดันให้เกิดศักยภาพและจุดแข็งของโรงอิฐในพื้นถิ่นให้เกิดเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะสู่การพัฒนาด้านนวัตกรรม ด้านคุณภาพ และด้านต้นทุน วัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture
วัดป่าชัยรังสี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลลานดอกไม้ อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร บริเวณพื้นที่ป่าริมแม่น้ำปิงฝั่งตะวันออก มีทางเข้าออกหลักถึง 3 ทาง ตามถนนฝั่งทิศใต้และตะวันออกรวม 2 สายและทางถนนภายในชุมชนฝั่งทิศเหนือ 1 สาย ชุมชนพักอาศัยอยู่บริเวณโดยรอบวัดใช้เส้นทางสัญจรผ่านวัดไปสู่ถนนสายหลักที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันวัดป่าชัยรังสี มีสิ่งก่อสร้างจากศรัทธาของพุทธศาสนิกชนในชุมชนโดยรอบและจากนอกพื้นที่ พัฒนาและสร้างสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้นตามประโยชน์ใช้สอยและกิจกรรมของพระสงฆ์เป็นหลัก แต่เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่มีต้นไม้ขนาดกลางและขนาดใหญ่ปกคลุมทั่วบริเวณเขตธรณีสงฆ์ รวมถึงการจัดการที่ไม่ได้มีวางแผนล่วงหน้า จึงทำให้เกิดอาคารขนาดเล็กกระจายตัวกันอย่างไม่มีความเชื่อมโยงอยู่ทั่วพื้นที่ของวัด ส่งผลให้การสัญจรและการใช้พื้นที่ภายในวัดขาดจุดศูนย์กลาง พระอาจารย์เงิน เจ้าอาวาสมุ่งหวังให้วัดป่าชัยรังสี เป็นสถานที่ที่สงบและเหมาะสมที่อยู่ไม่ห่างไกลจากชุมชน จึงเกิดแนวคิดในการก่อสร้างองค์เจดีย์ เพื่อพุทธศาสนิกชนผู้มาเยือน ส่งผลให้เกิดการสานต่อสู่การริเริ่มโครงการพัฒนาผังแม่บทและศาสนาสถานที่สำคัญ โดยมีความตั้งใจให้ก่อสร้างองค์เจดีย์และอุโบสถหลังใหม่เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของพื้นที่ทำกิจกรรมทางศาสนา เป็นดั่งสัญลักษณ์ของพื้นที่ และเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาผังแม่บทในจัดการพื้นที่ใช้สอยให้สอดคล้องกันทั้งด้านการเข้าถึงและการใช้พื้นที่ภายในวัด
https://issuu.com/kangkhao.s/docs/culturarchitect-2021-issu
https://www.facebook.com/watpakang
#harc #surasak #homesproject #kangkhao #heritage #culturachitecture
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกัน ผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ และ
Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture
รศ สุรศักกังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณษการงานวิจัยและงานออกแบบในพื้นที่มกรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet.ต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี
ขอแสดงความยินดีกับ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว ผู้ก่อตั้งและริเริ่มกลุ่ม HARC ( HERITAGE ASEAN RESEARCH COMMUNITY ) ที่มีผลงานที่ได้ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรมชุมชนอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการสนับสนุนและทำงานร่วมกัน ผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆความสำคัญของการมีส่วนผ่านการทำงานร่วมกันจนเกิดผลผลิตและผลงานที่มีประสิทธิภาพจนได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 สาขาศิลปกรรมศาสตร์ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ รางวัลรางวัลผลงานวิจัย การวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ และ
Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture
รศ สุรศักกังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณษการงานวิจัยและงานออกแบบในพื้นที่มกรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet.ต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี
นอกจากนี้ ได้เป็นผู้ก่อตั้งและริเริ่มโครงการการ mou บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ โครงการเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่าง 11 สถาบันการศึกษาภาคีเครือข่าย จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชร และ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เพือ่การบูรณษการงานวิจัยในพื้นที่มกรดกโลกให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากทุกภาคส่วน โดยมีแนวคิดจากปัญหาในปัจจุบัน เนื้อหาของการศึกษา และงานวิจัยไม่ถูกรับรู้ในวกว้าง ส่วนหนึ่งถูกมองว่าเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากการเรียนการสอนในระดับการศึกษาระดับพื้นฐานแต่ รศ สุรศักดิ์ ได้มีแนวคิด และสร้างสรรค์เรื่องวิธีการศึกษา ที่สามารถกระทำการศึกษาในรูปแบบการเรียนการสอนไปพร้อมกับวิธีการศึกษาวิจัยทั้งในศาสตร์ของตัวเองของศาสตร์อื่น โดยการมีแนวคิดการบูรณษการการเรียนการสอนร่วมกับ ภาคีเครือข่ายด้านการศึกษาจากสถาบันอื่นทั้งใรระดับประเทศและนานาชาติ เช่น กลุ่มนักศึกต่างชาติ เช่น IAESTE Thailand / capasia ball state university / royal college of art โดยมีการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมภายใต้โครการ World Heritage Experience ซึ่งเน้นการศึกษาในพื้นที่ เมืองมกรดกโลก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ผู้เรียนสามรถได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่แตงต่างจากการเรียนแบบบริบทเดิมๆ สามารถเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายในโลกนี้ได้ และสามารถนำ ความรู้ไปประยุกต์ให้ตกผลึกเป็นองค์ความรู้ของ ตนเอง เมื่อนักเรียนสามารถพึ่งตนเองก็จะเจริญ ก้าวหน้าในการแสวงหาความรู้ได้ตลอดชีวิต จนสามารถนำไปประยุคต์ใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการและปัญหา ภายใต้การการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในโลกปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างยั่งยืน
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
เมื่อเสน่ห์ของวันวานได้ก้าวเดินมาสู่วันนี้แล้วอย่างสวยงาม คำถามคือในอนาคตจากนี้เมืองเก่าสงขลาควรจะฉายภาพอย่างไรเพื่อก้าวสู่ฐานะมรดกโลก? ดร.จเร สุวรรณชาต รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หนึ่งในภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ มีมุมมองต่อประเด็นนี้ว่า “เมืองเก่าสงขลามีความโชคดี เพราะมีคู่เปรียบเทียบอย่างปีนังและมะละกาที่เป็นเมืองมรดกโลกอยู่ก่อนแล้ว ตัวเทียบเช่นนี้ทำให้อัตลักษณ์ของสงขลายิ่งเด่นชัดขึ้นในเรื่องความหลากหลาย โดยเฉพาะเรื่องของเชื้อชาติที่เรามีทั้งคนไทย คนพุทธ คนจีน คนมุสลิม อยู่ร่วมกันมายาวนาน มันสะท้อนให้เห็นผ่านทั้งวัฒนธรรมการกิน การออกแบบบ้านเรือนสถาปัตยกรรม ฯลฯ ซึ่งต่างจากเมืองอื่นที่ชนชาติต่างๆ เขายังมีเขตแดนระหว่างกันบ้าง เช่นมีย่านคนจีนเรียกว่าไชน่าทาวน์ หรือย่านคนแขกเรียกว่าลิตเติลอินเดีย ...แต่ที่สงขลาไม่ใช่ คุณเดินเล่นบนถนนเส้นเดียวก็จะสัมผัสได้ถึงมรดกของทุกชนชาติ มันแสดงถึงประวัติศาสตร์ที่ว่าเราอยู่อย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร นี่คือเสน่ห์ของเราที่ไม่มีที่ใดเหมือน” ดร.จเร อธิบายถึงมรดกเมืองเก่าที่เขาภูมิใจ
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
เบื้องหลังเสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาบริเวณถนนนครนอก ถนนนครใน และถนนนางงาม ที่สะดุดตาด้วยสถาปัตยกรรมเก่าแก่สไตล์ลูกผสมชิโน-ยูโรเปี้ยน คือความร่วมมือร่วมใจของลูกหลานในชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่กำลังจับมือกันผลักดันให้เมืองเก่าแห่งนี้ก้าวสู่ความเป็นเมืองมรดกโลก แต่หมุดหมายนี้จะต้องใช้อะไรเป็นต้นทุนบ้าง ภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ เคยบอกกับเราว่า “มรดกของเมืองเก่าสงขลานั้น หากจะใช้คำภาษาอังกฤษก็คือ Living Heritage หรือความเป็นเมืองเก่าที่มีชีวิตนั่นเอง”
นั่นเป็นความจริงที่ยากจะปฏิเสธ เพราะหากถามใครที่ไปเยี่ยมเยือนสงขลาในช่วงสิบปีให้หลังนี้ ไม่ว่าจะเดินไปตามตรอกซอยไหนคุณก็มักจะพบอาคารเก่าแก่งดงามที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้ในรูปแบบต่างๆ บ้างถูกปรับปรุงเป็นร้านกาแฟ บ้างเป็นร้านอาหาร หรือเป็นร้านขายของสไตล์ใหม่ๆ โดยคนรุ่นสองรุ่นสาม โดยทุกหลังยังคงแฝงกลิ่นอายความดั้งเดิมที่ผสานศิลปะแบบไทย จีน และมลายู ไว้อย่างกลมกลืน "คุณจะเห็นผู้คนที่ขายข้าวปลาอาหารสูตรโบราณ เช่นขนมสัมปันนี ขนมทองเอก ขนมการอจี๋ ขนมลูกโดน ซาลาเปาลูกใหญ่แบบจีน สลับไปกับภูมิทัศน์ใหม่ๆ ของร้านค้าแบบฝรั่ง คาเฟ่ หรืออาร์ตสเปซ ที่ผูกมิตรอยู่ด้วยกันได้แบบไม่เคอะเขิน” คนสงขลารุ่นใหม่ๆ บอกไว้แบบนั้น
อย่างไรก็ดี เมื่อเสน่ห์ของวันวานได้ก้าวเดินมาสู่วันนี้แล้วอย่างสวยงาม คำถามคือในอนาคตจากนี้เมืองเก่าสงขลาควรจะฉายภาพอย่างไรเพื่อก้าวสู่ฐานะมรดกโลก? ดร.จเร สุวรรณชาต รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หนึ่งในภาคีคนรักเมืองสงขลาฯ มีมุมมองต่อประเด็นนี้ว่า “เมืองเก่าสงขลามีความโชคดี เพราะมีคู่เปรียบเทียบอย่างปีนังและมะละกาที่เป็นเมืองมรดกโลกอยู่ก่อนแล้ว ตัวเทียบเช่นนี้ทำให้อัตลักษณ์ของสงขลายิ่งเด่นชัดขึ้นในเรื่องความหลากหลาย โดยเฉพาะเรื่องของเชื้อชาติที่เรามีทั้งคนไทย คนพุทธ คนจีน คนมุสลิม อยู่ร่วมกันมายาวนาน มันสะท้อนให้เห็นผ่านทั้งวัฒนธรรมการกิน การออกแบบบ้านเรือนสถาปัตยกรรม ฯลฯ ซึ่งต่างจากเมืองอื่นที่ชนชาติต่างๆ เขายังมีเขตแดนระหว่างกันบ้าง เช่นมีย่านคนจีนเรียกว่าไชน่าทาวน์ หรือย่านคนแขกเรียกว่าลิตเติลอินเดีย ...แต่ที่สงขลาไม่ใช่ คุณเดินเล่นบนถนนเส้นเดียวก็จะสัมผัสได้ถึงมรดกของทุกชนชาติ มันแสดงถึงประวัติศาสตร์ที่ว่าเราอยู่อย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร นี่คือเสน่ห์ของเราที่ไม่มีที่ใดเหมือน” ดร.จเร อธิบายถึงมรดกเมืองเก่าที่เขาภูมิใจ
ดร. จเร สุวรรณชาต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
https://www.asaexpo.org/post/songkhla-heritage-city
https://www.slideshare.net/FURD_RSU/heritage-trust
http://www.bigconnectivity.org/beta/sites/default/files/2017-03/Songkhla%20heritage%20trust%20pdf.pdf
โครงการฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เดินหน้าจัดทำ “โครงการฝึกอบรม-ฝึกงานผู้พิการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าทำงานในสถานประกอบการ ภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้พิการ เป็นการทำงานกับผู้พิการถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายที่มหาวิทยาลัยทำงานร่วมกับชุมชนและสังคม รวมถึงผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการมาอย่างต่อเนื่อง สร้างความสามารถในการสื่อสาร และสร้างความเข้าใจเรื่องของอารยสถาปัตย์ ซึ่งยังเป็นช่องว่างที่เราจะต้องทำความเข้าใจเพิ่มขึ้น และอื่นๆ อีกหลายด้าน ที่เราต้องค้นหาและพยายามเสริมความต้องการนั้นเข้าไป นอกจากนี้ ยังเป็นตัวอย่างของการพัฒนานักศึกษาในแง่ของความคิดความอ่านได้ดีขึ้น ทำให้อาจารย์และนักศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมและเข้าใจคนพิการมากขึ้น ถือเป็นกิจกรรมที่ทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัยจะได้เข้ามามีส่วนร่วมและทำให้เกิดผลที่ดีร่วมกัน
โครงการนี้ยังเป็นกลไกที่จะทำให้นักศึกษาได้เข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้พิการ คนทำงานและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การทำงานกับผู้พิการนั้นยังเป็นโอกาสดีที่เราจะได้เข้าใจมิติของชุมชนผู้พิการมากขึ้นและนำมาปรับปรุงพัฒนา เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับคนพิการรุ่นต่อไป
โครงการฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เดินหน้าจัดทำ “โครงการฝึกอบรม-ฝึกงานผู้พิการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าทำงานในสถานประกอบการ ภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้พิการ เป็นการทำงานกับผู้พิการถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายที่มหาวิทยาลัยทำงานร่วมกับชุมชนและสังคม รวมถึงผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการมาอย่างต่อเนื่อง สร้างความสามารถในการสื่อสาร และสร้างความเข้าใจเรื่องของอารยสถาปัตย์ ซึ่งยังเป็นช่องว่างที่เราจะต้องทำความเข้าใจเพิ่มขึ้น และอื่นๆ อีกหลายด้าน ที่เราต้องค้นหาและพยายามเสริมความต้องการนั้นเข้าไป นอกจากนี้ ยังเป็นตัวอย่างของการพัฒนานักศึกษาในแง่ของความคิดความอ่านได้ดีขึ้น ทำให้อาจารย์และนักศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมและเข้าใจคนพิการมากขึ้น ถือเป็นกิจกรรมที่ทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัยจะได้เข้ามามีส่วนร่วมและทำให้เกิดผลที่ดีร่วมกัน
โครงการนี้ยังเป็นกลไกที่จะทำให้นักศึกษาได้เข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้พิการ คนทำงานและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การทำงานกับผู้พิการนั้นยังเป็นโอกาสดีที่เราจะได้เข้าใจมิติของชุมชนผู้พิการมากขึ้นและนำมาปรับปรุงพัฒนา เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับคนพิการรุ่นต่อไป
หนึ่งในองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตของผู้พิการ คือหลัก “Universal Design” หรือสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับบุคคลทุกคน ทุกกลุ่มอายุอย่างเสมอภาค โดยหลักการใช้งาน 7 ข้อสำคัญที่ผู้พิการต้องรู้ เพื่อการดำรงชีวิตประจำวันนั่นคือ ความเสมอภาค ความยืดหยุ่น ใช้ง่ายเข้าใจง่าย มีข้อมูลชัดเจน ปลอดภัย ทุ่นแรงกาย และขนาดสถานที่ที่เหมาะสม ทั้งนี้ ดร.บุษเกตน์ อินทรปาสาน รองคณะบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มจธ. กล่าวถึงการอบรมครั้งนี้ว่า นอกจากการเรียนวิชาการและการฝึกทักษะทางอาชีพแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ผู้อบรมกลุ่มผู้พิการได้ออกไปใช้ชีวิตภายนอกจริงๆ เนื่องจากผู้พิการบางคนแทบไม่ได้ออกจากบ้าน หรือสถานสงเคราะห์เลย
จึงใช้วิชานี้เป็นโอกาสให้ผู้พิการหลายคนได้ก้าวออกจาก Safety Zone ของตัวเอง “หลังจากที่สอนเรื่อง Universal Design และสร้างความเข้าใจแล้ว เราก็ให้เขาออกเดินทาง ออกไปทำสิ่งที่เขาอยากทำ แล้วประเมินดูว่าสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการใช้ชีวิตของเขามากน้อยอย่างไร” แน่นอนว่า ความบกพร่องทางร่างกายเป็นอุปสรรคที่ทำให้บางคนไม่สามารถดำเนินชีวิตปกติได้
แต่ในการอบรมเราจะพยายามสอดแทรกเรื่อง Independent Living คือการอยู่ได้ด้วยตนเองโดยไม่เป็นภาระให้กับคนอื่นในสังคม เพื่อปลุกความกล้าและความมั่นใจในตัวเค้าเอง แต่อย่างไรก็ตาม สังคมจะเกิดสภาวะแบบ Independent Living ขึ้นได้นั้น ต้องมีสองสิ่งสำคัญ หนึ่งคือความกล้าและความมั่นใจของคนพิการเอง และสองก็คือความพร้อมของบ้านเมืองที่พร้อมจะอำนวยความสะดวกให้กับคนพิการอย่างเท่าเทียมในสังคม ดร.บุษเกตน์ เล่าว่า ได้มีการเชิญคุณโสภณ ฉิมจินดา บุคคลผู้มีกำลังใจที่ดีและรักในการท่องเที่ยวโดย Wheel chair มาเป็นวิทยากรในเรื่อง Independent living เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับกลุ่มผู้พิการที่เข้าอบรมด้วยการฝากข้อคิดไว้ว่า
“การออกไปเรียนรู้ถึงสภาพแวดล้อม เรื่องนั้นผู้พิการออกไปข้างนอกไม่ลำบาก แต่คนที่ลำบากคือผู้ที่มาช่วยเราในการเดินทาง การยก Wheel chair หรือการช่วยผู้พิการทางสายตาให้ผ่านอุปสรรคนั้นไปได้จึงอยากชวนให้ผู้พิการมีกำลังใจและออกไปข้างนอกด้วยตัวเองกันเถอะ”
ดร.บุษเกตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หลังจากจบวิชานี้ มีผู้พิการหลายคนสะท้อนให้ได้รู้ว่า ทำไมที่ผ่านมาเขาต้องอยู่แต่ในที่ของผู้พิการ และทำไมผู้พิการยังต้องพึ่งพาคนทั่วไปนั้น ส่วนหนึ่งมาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยในเมืองไทยโดยเฉพาะระบบขนส่งสาธารณะ ยังไม่พร้อมที่จะทำให้ผู้พิการมีความกล้าพอที่จะออกมาดำเนินชีวิตประจำวันแบบคนปกติ เพราะกลัวสภาพแวดล้อมที่ไม่ตอบสนองต่อความบกพร่องของร่างกาย แต่ก็กลายเป็นอีกหนึ่งโจทย์สำคัญที่ต้องพัฒนากันต่อไปเช่นกัน และในการอบรมครั้งนี้
http://www.pwd.kmutt.ac.th/
https://edunewssiam.com/th/articles/201635
https://www.facebook.com/RSC.KMUTT/posts/2716288201954075
ประเทศไทยพบภูเขาไฟที่ดับแล้วที่มีอายุเฉลี่ยราว 2 ล้านปีมาแล้ว อันเกิดจากการปะทุของลาวา โดยพบที่จังหวัดบุรีรัมย์มากถึง 6 ลูก ได้แก่ เขาพนมรุ้ง เขาปลายบัด เขากระโดง เขาอังคาร และเขาหลุบ จากสภาพธรณีวิทยาที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางกายภาพแล้ว ยังมีความอุดมสมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ ในสมัยขอมเรืองอำนาจในดินแดนแถบนี้รับแนวความคิดการนับถือเทพเจ้ากษัตริย์เป็นพระศิวะอวตารมาเกิด เป็นกษัตริย์แห่งภูเขาและจักรวาล ดังนั้น ตัวปราสาทและเขตศาสนสถานจึงถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เช่นเดียวกับภูเขาไฟในจังหวัดบุรีรัมย์จึงมีการสร้างปราสาทหรือศาสนสถาน เช่น ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทปลายบัด ปราสาทเขากระโดง ปราสาทเขาอังคาร เป็นต้น และมีการใช้ประโยชน์จากปากปล่องภูเขาไฟเป็นแหล่งชลประทาน ต่อมาอาณาจักรขอมเสื่อมลงปราสาทขอมได้ชำรุดทรุดโทรมลงตามกาลเวลามีการสร้างวัด อุโบสถหรือสิ่งก่อสร้างอื่นทับ ปัจจุบันได้รับการอนุรักษ์บูรณะจากกรมศิลปากรให้เป็นมรดกทางโบราณคดีที่สำคัญในพื้นที่ ประกอบกับสภาพนิเวศวิทยาภูเขาไฟเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ วนอุทยาน หรือป่าชุมชนเป็นผลมาจากดินภูเขาไฟที่มีหินบะซอลล์และแร่ธาตุส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของพืชพันธุ์ ในหลายช่วงเวลาจนถึงปัจจุบันจึงเป็นแหล่งที่ตั้งของชุมชนที่มีความหลากหลายชาติพันธุ์ที่ยังคงดำรงรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมีผลิตผลทางวัฒนธรรมที่สะท้อนอัตลักษณ์ จึงเป็นสิ่งดึงดูดทางการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์ดังคำขวัญ“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม ล้ำเลิศเมืองกีฬา”
ประเทศไทยพบภูเขาไฟที่ดับแล้วที่มีอายุเฉลี่ยราว 2 ล้านปีมาแล้ว อันเกิดจากการปะทุของลาวา โดยพบที่จังหวัดบุรีรัมย์มากถึง 6 ลูก ได้แก่ เขาพนมรุ้ง เขาปลายบัด เขากระโดง เขาอังคาร และเขาหลุบ จากสภาพธรณีวิทยาที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางกายภาพแล้ว ยังมีความอุดมสมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ ในสมัยขอมเรืองอำนาจในดินแดนแถบนี้รับแนวความคิดการนับถือเทพเจ้ากษัตริย์เป็นพระศิวะอวตารมาเกิด เป็นกษัตริย์แห่งภูเขาและจักรวาล ดังนั้น ตัวปราสาทและเขตศาสนสถานจึงถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เช่นเดียวกับภูเขาไฟในจังหวัดบุรีรัมย์จึงมีการสร้างปราสาทหรือศาสนสถาน เช่น ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทปลายบัด ปราสาทเขากระโดง ปราสาทเขาอังคาร เป็นต้น และมีการใช้ประโยชน์จากปากปล่องภูเขาไฟเป็นแหล่งชลประทาน ต่อมาอาณาจักรขอมเสื่อมลงปราสาทขอมได้ชำรุดทรุดโทรมลงตามกาลเวลามีการสร้างวัด อุโบสถหรือสิ่งก่อสร้างอื่นทับ ปัจจุบันได้รับการอนุรักษ์บูรณะจากกรมศิลปากรให้เป็นมรดกทางโบราณคดีที่สำคัญในพื้นที่ ประกอบกับสภาพนิเวศวิทยาภูเขาไฟเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ วนอุทยาน หรือป่าชุมชนเป็นผลมาจากดินภูเขาไฟที่มีหินบะซอลล์และแร่ธาตุส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของพืชพันธุ์ ในหลายช่วงเวลาจนถึงปัจจุบันจึงเป็นแหล่งที่ตั้งของชุมชนที่มีความหลากหลายชาติพันธุ์ที่ยังคงดำรงรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมีผลิตผลทางวัฒนธรรมที่สะท้อนอัตลักษณ์ จึงเป็นสิ่งดึงดูดทางการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์ดังคำขวัญ“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม ล้ำเลิศเมืองกีฬา”
แม้ว่าสถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวจะมีทิศทางที่ดีขึ้นแต่ต้องชะลอตัวลง เมื่อโลกประสบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (โควิด-19) ราวเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบอย่างหนักต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย เนื่องจากหลายประเทศทั่วโลกต่างออกมาตรการห้ามเดินทางเข้า-ออกประเทศ การปิดสถานที่สาธารณะ รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยว และการให้คำแนะนำของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ เกี่ยวกับการระมัดระวังการท่องเที่ยวใด ๆ ทั่วโลก เป็นผลให้สายการบินจำนวนมากยกเลิกเที่ยวบินเนื่องจากความต้องการลดลง การยกเลิกเทศกาลเฉลิมฉลอง การยกเลิกการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ ฯลฯ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะที่ประเทศไทยได้ออกประกาศ พ.ร.ก.การบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ส่งผลให้กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ จำต้องหยุดชะงักลงชั่วคราวจนกว่าสถานการณ์จะกลับสู่ภาวะปกติ อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะยังคงเป็นเป้าหมายสำคัญของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างรวดเร็วที่สุด โดยกำหนดเป็นแผนงานที่จะขับเคลื่อนประเทศไทยคู่กับมาตรการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 และกำหนดมาตรการเตรียมความพร้อมสำหรับภาคการท่องเที่ยวเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายหลังโควิด-19 หรือเมื่อไทยสามารถควบคุมสถานการณ์ได้เป็นอย่างดีแล้ว ด้วยการผลักดันนโยบายการท่องเที่ยวภายในประเทศ เช่นโครงการกำลังใจ เราเที่ยวด้วยกัน และเที่ยวปันสุข เป็นต้น ดังนั้น หากชุมชนใดที่มีการเตรียมความพร้อมด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ต่อยอดจากการท่องเที่ยวเชิงกีฬาย่อมได้เปรียบในการแข่งขัน การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างชุมชนเขตชีวมณฑลภูเขาไฟเพื่อเพิ่มระยะเวลาพำนักให้กับนักท่องเที่ยวเชิงกีฬาภายในประเทศ ผ่านการยกระดับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้ท่องเที่ยวจะเป็นหมุดหมายที่สำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของรายได้กระจายออกไปสู่ชุมชน ทำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนได้มีส่วนช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนท้องถิ่น จำเป็นเร่งด่วนให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่สินค้าสร้างสรรค์เพื่อรองรับการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มนักท่องเที่ยวในชุมชน ส่งผลกระทบต่อความสุขและรายได้ของประชากรในจังหวัด ให้ขยับจากจังหวัดที่ยากจนไปสู่เมืองแห่งความรื่นรมย์ จึงจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนให้มีแผนงานวิจัยนี้ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย 3 โครงการ ได้แก่
รองศาสตราจารย์สมบัติ ประจญศานต์
อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผู้อำนวยการแผนงานวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่สินค้าสร้างสรรค์เชิงนิเวศวัฒนธรรมของชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวเขต
ชีวมณฑลภูเขาไฟทั้ง 6 ลูกในจังหวัดบุรีรัมย์
www.facebook.com/volcano6Buriram/
www.facebook.com/saphipae/
ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร“ การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องประดับด้วยภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ไทยของกลุ่มเครื่องประดับ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สำหรับกลุ่มผู้บริโภคสมัยใหม่” จำนวน 5 ผลงาน
ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรัช สุดสังข์
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร“ การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องประดับด้วยภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ไทยของกลุ่มเครื่องประดับ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สำหรับกลุ่มผู้บริโภคสมัยใหม่” จำนวน 5 ผลงาน
https://www.arch.nu.ac.th/2016/th/event.php?title_id=659...
#Architecture
#Artanddesign
#Naresuanuniversity
Workshop Online!!!
This May, Get ready for KMUTNB 7th International Art and Design Workshop 2021. ..An event that includes many Thai and international artists. Jointly create artworks that are organized online under the concept of “Green New Normal” Presented by the Faculty of Architecture and Design, King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Workshop Online!!!
This May, Get ready for KMUTNB 7th International Art and Design Workshop 2021. ..An event that includes many Thai and international artists. Jointly create artworks that are organized online under the concept of “Green New Normal” Presented by the Faculty of Architecture and Design, King Mongkut's University of Technology North Bangkok
ศ.ดร. จิรวัฒน์ พิระสันต์
Professor Jirawat Phirasant, Ph.D.
ภาควิชาศิลปะและการออกแบบ. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
วันที่ 22 พฤษภาคม 2564 ได้มีกิจกรรมสัมมนา “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม” (Culturarchitecture Beyond) ในกรอบแนวคิดการออกแบบสังคมและวัฒนธรรมด้านสถาปัตยกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อม (covid-19) ส่งผลให้ โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรมมีวิวัฒนาการอย่างก้าวกระโดดสู่วิถีใหม่โดยไม่หวนกลับคืน
โดยได้มีวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านจากหลายสาขาวิชาให้เกียรติมาร่วมเสวนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมุมมองเกี่ยวกับทิศทางอนาคตของการเปลี่ยนแปลง ของโครงการสัมมนา “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม” ทั้งในด้านวิชาการ ด้านวิชาชีพ และด้านการศึกษา โดยมีประเด็นสำคัญคือ การเกิดวิกฤตการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19ที่กำลังลุกลามอยู่ในขณะนี้ ทำให้ตระหนักรู้ถึงปัญหาและวิกฤตที่คาดไม่ถึง ไม่ว่าจะเป็นการดำรงชีวิต เศรษฐกิจ กายภาพ สังคม วัฒนธรรม และแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีที่มีวิวัฒนาการอย่างก้าวกระโดด
ซึ่งจากการระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จะเป็นแนวทางในการหาข้อสรุป นำไปใช้ประโยชน์ แก้ไขและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยได้มีการทำสรุปและเรียบเรียงผ่านช่องทาง youtube จากประเด็นสำคัญที่น่าสนใจ
Culturarchitecture Beyond “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม”
Organised : Surasak Kangkhao รศ.สุรศักดิ์ กังขาว
เมื่อวันเสาร์ ที่ 22 พฤษภาคม 2564 ได้มีกิจกรรมสัมมนา “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม” (Culturarchitecture Beyond) ในกรอบแนวคิดการออกแบบสังคมและวัฒนธรรมด้านสถาปัตยกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อม (covid-19) ส่งผลให้ โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรมมีวิวัฒนาการอย่างก้าวกระโดดสู่วิถีใหม่โดยไม่หวนกลับคืน
โดยได้มีวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านจากหลายสาขาวิชาให้เกียรติมาร่วมเสวนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมุมมองเกี่ยวกับทิศทางอนาคตของการเปลี่ยนแปลง ของโครงการสัมมนา “โพ้นวัฒนสถาปัตยกรรม” ทั้งในด้านวิชาการ ด้านวิชาชีพ และด้านการศึกษา โดยมีประเด็นสำคัญคือ การเกิดวิกฤตการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19ที่กำลังลุกลามอยู่ในขณะนี้ ทำให้ตระหนักรู้ถึงปัญหาและวิกฤตที่คาดไม่ถึง ไม่ว่าจะเป็นการดำรงชีวิต เศรษฐกิจ กายภาพ สังคม วัฒนธรรม และแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีที่มีวิวัฒนาการอย่างก้าวกระโดด
ซึ่งจากการระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จะเป็นแนวทางในการหาข้อสรุป นำไปใช้ประโยชน์ แก้ไขและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยได้มีการทำสรุปและเรียบเรียงผ่านช่องทาง youtube จากประเด็นสำคัญที่น่าสนใจ
สามารถติดตามรายละเอียดได้ใน Page Facebook HARC และช่อง Youtube HARC
วิทยากร
Keynote soeaker
ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย
รศ.ดร.กิติพงค์ มะโน
คณบดี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.สมพล ดำรงเสถียร
หัวหน้าภาควิชาครุศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.นิรัช สุดสังข์
คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ดร.จเร สุวรรณชาต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
นายชาญณรงค์ แก่นทอง
อุปนายก สภาสถาปนิก
นายวิวัฒน์ จิตนวล
กรรมการสภาสถาปนิก/ที่ปรึกษานายกสภาสถาปนิกด้านภูมิภาค
แขกรับเชิญพิเศษ
ศ. อรศิริ ปาณินท์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายวราดิศร อ่อนนุช
ปลัดจังหวัดบึงกาฬ
รศ.ดร วัชพงษ์ ชุมดวง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
www.facebook.com/HARC.ASIA
www.youtube.com/results?search_query=harc+kmitl
www.harc.asia
www.facebook.com/harc.asia.94
contact Q&A
www.facebook.com/HARC.ASIA
www.harc.asia
www.kangkhao.com
Twitter @HARC_ASIA
IG HARC_ASIA
Experience series : SURASAK KANGKHAO (National Excellence in Teacher Award : Fine and Applied Arts/National Excellence in Government officials Award)
ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลของการพัฒนาเมืองสวรรค์โลกหลังผ่านโครงการศึกษาและออกแบบผังแม่บทพื้นที่ เมืองสวรรคโลกเพื่อการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร
ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการ ติดตามและประเมินผล ของ การพัฒนาเมืองสวรรค์โลกที่เกิดจากผลของการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ ร่วมกับนายจิรชาติ นาคสวัสดิ์ นายอำเภอสวรรคโลก อาจารย์สุทธิพงษ์ จุติ (อาจารย์แผนกการท่องเที่ยว วิทยาลัยการอาชีพศรีสัชนาลัย ที่มีเครือข่ายนักศึกษาทำโครงการ Sisatchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย ได้รวบรวมประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านของฝากและผลไม้ของแต่ละเดือน ในอำเภอศรีสัชนาลัย รวบรวมและให้บริการ ด.ต.ทวิช จันทร์เกสร ( วิทยากรโรงพักทรงปั้นหยาสวรรคโลก, นักจัดรายการวิทยุเอฟเอ็ม 101 สวรรคโลก, วิทยากรครูตำรวจแดร์, วิทยากรครูฝึกหมู่บ้าน อพป.ของ กอ.รมน.จว.สท. และวิทยากรเครือข่ายกลุ่มเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ) และภาคีเครือในชุมชนร่วมหารือและแลกเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินการ ได้สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อความยั่งยืนของเมือง เพื่อการอนุรักษ์สภาพ ทางภูมิทัศน์วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมของชุมชน ร่วมกับสนับสนุนด้านประเพณีและวัฒนธรรม ผ่านเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาโครงการต่อยอดและพัฒนาในพื้นที่ เช่น โครงการพัฒนาอาคารไม้เก่า 3 คูหาในพื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok) เพื่อปรับใช้เป็นศูนย์บริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ( information center & coworking space ) โครงการศึกษาและแนวทางในการศักยภาพของกลุ่มอาคารเก่าใน พื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok), โครงการ Si satchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย
Experience series : SURASAK KANGKHAO (National Excellence in Teacher Award : Fine and Applied Arts/National Excellence in Government officials Award)
ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลของการพัฒนาเมืองสวรรค์โลกหลังผ่านโครงการศึกษาและออกแบบผังแม่บทพื้นที่ เมืองสวรรคโลกเพื่อการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563, ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และ คณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมกับตัวแทนภาคีเครือข่ายในชุมชนพื้นที่มรดกโลก ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการ ติดตามและประเมินผล ของ การพัฒนาเมืองสวรรค์โลกที่เกิดจากผลของการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ ร่วมกับนายจิรชาติ นาคสวัสดิ์ นายอำเภอสวรรคโลก อาจารย์สุทธิพงษ์ จุติ (อาจารย์แผนกการท่องเที่ยว วิทยาลัยการอาชีพศรีสัชนาลัย ที่มีเครือข่ายนักศึกษาทำโครงการ Sisatchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย ได้รวบรวมประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านของฝากและผลไม้ของแต่ละเดือน ในอำเภอศรีสัชนาลัย รวบรวมและให้บริการ ด.ต.ทวิช จันทร์เกสร ( วิทยากรโรงพักทรงปั้นหยาสวรรคโลก, นักจัดรายการวิทยุเอฟเอ็ม 101 สวรรคโลก, วิทยากรครูตำรวจแดร์, วิทยากรครูฝึกหมู่บ้าน อพป.ของ กอ.รมน.จว.สท. และวิทยากรเครือข่ายกลุ่มเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ) และภาคีเครือในชุมชนร่วมหารือและแลกเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินการ ได้สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อความยั่งยืนของเมือง เพื่อการอนุรักษ์สภาพ ทางภูมิทัศน์วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมของชุมชน ร่วมกับสนับสนุนด้านประเพณีและวัฒนธรรม ผ่านเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาโครงการต่อยอดและพัฒนาในพื้นที่ เช่น โครงการพัฒนาอาคารไม้เก่า 3 คูหาในพื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok) เพื่อปรับใช้เป็นศูนย์บริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ( information center & coworking space ) โครงการศึกษาและแนวทางในการศักยภาพของกลุ่มอาคารเก่าใน พื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok), โครงการ Si satchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563 , ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมกับตัวแทนภาคีเครือข่ายในชุมชนพื้นที่มรดกโลก ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการในพื้นที่เมืองมรดกโลก สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร (WHE 2020 – 10th) โดยมีประเด็นภายใต้โครงการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่มรดกโลก ผ่านโครงการการพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงสุโขทัยธานี-เมืองเก่าสุโขทัย โครงการศึกษาและออกแบบผังแม่บทพื้นที่เมืองสวรรคโลกเพื่อการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร โครงการศึกษาออกแบบและพัฒนานวัตกรรมซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันเพื่อการท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย เมืองมรดกโลกศรีสัชนาลัย – สวรรคโลก และ โครงการพัฒนาภูมิปัญญาสู่การเสริมสร้าง อัตลักษณ์พื้นถิ่นผ่านการพัฒนานวัตกรรมวเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาอิฐในพื้นที่เมืองมรดกโลก
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563, ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และ คณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมกับตัวแทนภาคีเครือข่ายในชุมชนพื้นที่มรดกโลก ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการ ติดตามและประเมินผล ของ การพัฒนาเมืองสวรรค์โลกที่เกิดจากผลของการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ ร่วมกับนายจิรชาติ นาคสวัสดิ์ นายอำเภอสวรรคโลก อาจารย์สุทธิพงษ์ จุติ (อาจารย์แผนกการท่องเที่ยว วิทยาลัยการอาชีพศรีสัชนาลัย ที่มีเครือข่ายนักศึกษาทำโครงการ Sisatchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย ได้รวบรวมประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านของฝากและผลไม้ของแต่ละเดือน ในอำเภอศรีสัชนาลัย รวบรวมและให้บริการ ด.ต.ทวิช จันทร์เกสร ( วิทยากรโรงพักทรงปั้นหยาสวรรคโลก, นักจัดรายการวิทยุเอฟเอ็ม 101 สวรรคโลก, วิทยากรครูตำรวจแดร์, วิทยากรครูฝึกหมู่บ้าน อพป.ของ กอ.รมน.จว.สท. และวิทยากรเครือข่ายกลุ่มเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ) และภาคีเครือในชุมชนร่วมหารือและแลกเปลี่ยนแนวคิดการดำเนินการ ได้สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อความยั่งยืนของเมือง เพื่อการอนุรักษ์สภาพ ทางภูมิทัศน์วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมของชุมชน ร่วมกับสนับสนุนด้านประเพณีและวัฒนธรรม ผ่านเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาโครงการต่อยอดและพัฒนาในพื้นที่ เช่น โครงการพัฒนาอาคารไม้เก่า 3 คูหาในพื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok) เพื่อปรับใช้เป็นศูนย์บริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ( information center & coworking space ) โครงการศึกษาและแนวทางในการศักยภาพของกลุ่มอาคารเก่าใน พื้นที่ชุมชนจีน (street art swankalok), โครงการ Si satchanalai Travel : ท่องเที่ยวศรีสัชนาลัย
https://www.facebook.com/HARC.ASIA/photos/a.790049441196705/1591701347698173/
ร่วมหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยื่นและเป็นผลมาจากศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว
คณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยมี รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563 , ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND ร่วมกับ บาส-โสภณ ปลูกสร้าง เจ้าของสิบสองหน่วยตัด อาจารย์สมชาย เดือนเพ็ญ และผู้ทรงคุณวุฒิ ในการสร้างอัตลักษณ์ของเมืองสวรรคโลก ที่เคยมีความเจริญรุ่งเรือง และมีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและการปกครองมาก่อน แต่ปัจจุบันกลายเป็นเมืองทางผ่านระหว่างอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยกับอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ซึ่งยังไม่แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจและสำคัญที่ทำให้เกิดการแวะพักหรือท่องเที่ยว โดยปัจจุบันเริ่มมีคนรุ่นใหม่กลับมาช่วยกันพัฒนาพื้นที่ในสวรรคโลก ร่วมกันสร้างเครือข่ายร่วมกันทำให้เกิดโอกาศที่เกิดขึ้นได้ในเมืองสวรรค์ ซึ่งกำลังมีแนวโน้มในการพัฒนาที่ดีขึ้น ร่วมกันบูรณาการขึ้นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถยกระดับสู่ความเป็นสากลพร้อมเชื่อมโยงเรื่องราวพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นจากศักยภาพของ ตำแหน่งเมืองสวรรคโลกยังเป็นที่ตั้งของสนามบินและสถานีรถไฟที่รองรับการเดินทางของนักท่องเที่ยว ถือเป็นโอกาสที่ดี สำหรับนักท่องเที่ยวได้เพิ่มประสบการณ์ และมีทางเลือกที่หลากหลาย ทำให้นักท่องเที่ยวไม่กระจุกตัว อยู่แต่บริเวณพื้นที่อุทยานประวัตศาสตร์ เท่านั้น และปัจจุบันในพื้นที่ยังมีความโดเด่นและสำคัญจากรูปแบบสถาปัตยกรรมไม้ในชุมชนยุครุ่งเรือง ซึ่งแบ่งเป็น 3 ยุคสมัย ตั้งแต่ยุคประวัติศาสตร์สุโขทัย อยุธยา และ รัตนโกสินทร์ โดยมีร่องรอยเชื่อมโยงในการเปลี่ยนแปลงแต่ละยุคสมัย จนถึงยุครุ่งเรืองของเมืองสวรรคโลกในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ที่มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกัน เห็นได้จาก สถานีตำรวจ ที่ว่าการอำเภอ สถานีรถไฟ โรงสีข้าว โรงแรมไม้ 3 ชั้น บ้านขุนปราณี ตลอดจนร้านค้า ในสมัยนั้นยังคงรูปลักษณ์สถาปัตยกรรมไม้เอาไว้อย่างยาวนาน ถือเป็นกลุ่มเรือนไม้ที่ครบถ้วนทั้งหน่วยงานราชการ บ้านคหบดี ระบบขนส่ง โรงแรม และ ชุมชน
รศ.สุรศักด์ กังขาว ได้สรุปและให้คำแนะนำหลักการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คือ การไม่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนแม้จะไม่มีนักท่องเที่ยววิถีชีวิตเหล่านี้ก็ต้องยังดำเนินต่อไป โดยเน้นให้นักท่องเที่ยวมีการเรียนรู้ประเพณี วัฒนธรรมผ่านวิถีชีวิตชุมชนที่มีความเข้าใจคุณค่า และร่วมสร้างจิตสำนึกที่ดี รักและหวงแหน ทรัพยากร วัฒนธรรม วิถีชีวิตดั้งเดิม สนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนให้เป็นกลุ่มหลักในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประกอบกับการปรับใช้โซเชียลมีเดียเพื่อสร้างกลไกในการสื่อสาร บูรณาการแผนงาน ประชาสัมพันธ์ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหลังจาก ชุมชนสามารถต่อยอดการพัฒนาชุมชนของตัวเองให้เข้มแข็งด้วยชุมชนเองแล้วจะเป็นผลดีอันจะเป็นต้นแบบสำหรับชุมชนอื่นได้เรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ภายใต้บริบทของแต่ละชุมชนนั้นต่อไป ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ในระดับประเทศและระดับสากลอย่างเป็นระบบ
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563 , ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และ คณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ลงสำรวจพื้นเพื่อสำรวจและศึกษาข้อมูลค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สามารถนำสู่การประยุกต์ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมกับผู้ประกอบการโรงอิฐในพื้นมรดกโลก ตัวแทนจากกลุ่มสุโขทัยพัฒนาเมือง และ อาจารย์เอกรินทร์ พิลึก แผนกวิชาสถาปัตยกรรมวิทยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร โดยการศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นเพื่อหารือถึงแนวโน้มของตลาดและพัฒนาศักยภาพ ร่วมกับผู้ประกอบการ เพื่อผลักดันให้เกิดศักยภาพและจุดแข็งของโรงอิฐในพื้นถิ่นให้เกิดเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะสู่การพัฒนาด้านนวัตกรรม ด้านคุณภาพ และด้านต้นทุน ซึ่งส่งผลให้เกิดเป็นทางเลือกที่แตกต่างจากผู้ผลิตอิฐรายใหญ่ในระบบอุตสาหกรรมที่เป็นผู้จำหน่ายหลักในตลาดอิฐในปัจจุบัน
https://www.facebook.com/SukhothaiCD
https://www.facebook.com/ouy.panusit
( บริษัทสุโขทัยพัฒนาเมือง จำกัด : STCD เกิดจากการรวมตัวของนักธุรกิจในพื้นที่ มีความเห็นร่วมกันว่าจังหวัดสุโขทัยมีศักยภาพมากโดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีมรดกโลกซึ่งเป็นที่รู้จักของชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นจำนวนมาก จึงต้องการพัฒนาเมืองสุโขทัยให้เป็นเมืองที่มีความสวยงาม ปลอดภัย สะอาด สภาพแวดล้อมน่าอยู่น่าเที่ยว เป็นที่ประทับใจสำหรับผู้มาเยือน )
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563 , ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และ คณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ร่วมแสดงความยินดีกับรองศาสตราจารย์ ดร.นิรัช สุดสังข์ เนื่องในโอกาสที่ได้รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร ณ พิพิธภัณฑ์ผ้า – กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมกันนี้ได้ร่วมปรึกษาหารือแนวทางการร่วมมือกับ ศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงการแผนงานดำเนินการบูรณาการการวิจัยเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการที่เชื่อมโยงกันในพื้นที่เมืองมรดกโลกสุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร ผ่านความหลากหลายทางชาติพันธุ์ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละสังคมพหุวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทั้งในเชิงพื้นที่และทางวิชาการเกิดแนวคิดที่สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพพัฒนาในอนาคตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
https://www.arch.nu.ac.th
https://www.facebook.com/archnu
https://www.facebook.com/nuac.naresuan
รศ.สุรศักดิ์ กังขาว (อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ 2563, ข้าราชการพลเรือนดีเด่นแห่งชาติ 2563) MR.KEVIN SUND และคณะทำงานเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรม (Heritage Academic and Research Center : HARC) www.harc.asia ได้ร่วมประชุมแผนงานความคืบหน้าและนำเสนอรูปแบบพระเจดีย์วัดปากอ่าง เพื่อใช้เป็นธรรมบูชาแก่พระพุทธศาสนา ร่วมกับ แม่ชีไน้ แช่มช้อย พระอธิการสมบัติ คุณวนฺโต (เจ้าอาวาส) และ ครูบาต๋อง (ที่ปรึกษาฝ่ายก่อสร้าง) โดยใช้แนวคิดวัฒนสถาปัตยกรรมที่สอดคล้อง กับการใช้ประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่ภายในเจดีย์ การอยู่ร่วมกันระหว่างธรรมชาติกับมนุษย์ และคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เกิดเป็นรูปแบบศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชัดเจนของวัดปากอ่าง (วัดปากอ่าง ตั้งอยู่ที่ บ้านปากอ่าง ตำบลอ่างทอง อำเภอเมืองกำแพงเพชร)
https://www.facebook.com/watpakang
https://www.arch.nu.ac.th
https://www.facebook.com/archnu
https://www.facebook.com/nuac.naresuan
โครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก ระหว่าง 9 – 10 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมนิมมาน คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โครงการวันนิมมาน จังหวัดเชียงใหม่
https://www.cmu.ac.th/th/article/5a446111-d812-4da1-a263-c3617d4cf0c5
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ องค์การบริการส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก้ในประเทศไทย (TCCN) จัดงานประชุมนานาชาติ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก “Chiang Mai Creative Cities Network Forum 2021” โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวหน้าโครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมพิธีเปิดงานและรายงานวัตถุประสงค์การจัดงาน กล่าวแนวทางการดำเนินงาน โดย นางวิภาวัลย์ วรพุฒิพงค์ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และได้รับเกียรติกล่าวเปิดการประชุม โดย นายรัฐพล นราดิศร รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่และผู้เข้าร่วมงานในภาคส่วนต่างจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสุโขทัย จังหวัดสงขลา และจังหวัดเชียงใหม่
ภายใต้โครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก ระหว่าง 9 – 10 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมนิมมาน คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โครงการวันนิมมาน จังหวัดเชียงใหม่
https://www.cmu.ac.th/th/article/5a446111-d812-4da1-a263-c3617d4cf0c5
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ องค์การบริการส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก้ในประเทศไทย (TCCN) จัดงานประชุมนานาชาติ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก “Chiang Mai Creative Cities Network Forum 2021” โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวหน้าโครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมพิธีเปิดงานและรายงานวัตถุประสงค์การจัดงาน กล่าวแนวทางการดำเนินงาน โดย นางวิภาวัลย์ วรพุฒิพงค์ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และได้รับเกียรติกล่าวเปิดการประชุม โดย นายรัฐพล นราดิศร รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่และผู้เข้าร่วมงานในภาคส่วนต่างจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสุโขทัย จังหวัดสงขลา และจังหวัดเชียงใหม่
งานประชุมนานาชาติเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ (Chiang Mai Creative Cities Network Forum 2021) จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก ร่วมหาแนวทางการดำเนินงานร่วมกันระหว่างเมืองสมาชิกขององค์การยูเนสโกในประเทศไทย (TCCN) ประกอบไปด้วย จังหวัดภูเก็ต จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดสุโขทัย และกรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุ่มสมาชิก เมืองสร้างสรรค์ของประเทศไทย เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนร่วมกันข้ามศาสตร์อย่างบูรณาการ (Cross network) และเปิดพื้นที่สำหรับการนำเสนอเมืองในประเทศไทย ที่มีความสนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก อาทิ จังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเลย และจังหวัดชลบุรี เพื่อแสดงศักยภาพของเมืองในการขับเคลื่อนเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ ยูเนสโกในแต่ละสาขาตามความโดดเด่นของเมืองที่มีฐานทางด้านวัฒนธรรม รวมถึงการแลกเปลี่ยนร่วมกับสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ในต่างประเทศทั้ง 7 สาขาได้แก่ ด้านอาหาร (Gastronomy) ด้านการออกแบบ (Design) ด้านวรรณกรรม (Literature) ด้านดนตรี (Music) ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) ด้านภาพยนตร์ (Films) และด้านสื่อศิลปะ (Media Art) ที่จะแบ่งปันกระบวนการทำงานของแต่ละเมืองและผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาด COVID - 19 เพื่อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนแนวทางการพัฒนา ร่วมกันเพื่อเกิดเป็นกิจกรรมบูรณาการสร้างสรรค์ระดับชาติ และระดับนานาชาติต่อไป
รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวหน้าโครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก
https://www.cmu.ac.th/th/article/5a446111-d812-4da1-a263-c3617d4cf0c5
http://site.sri.cmu.ac.th/sriweb/th/news/index.php?id=MTgwNg==
https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1523490/
https://business.facebook.com/ChiangmaiCCFA/?tn-str=k*F
Sukhothai - Kamphaeng Phet.
Experience series : SURASAK KANGKHAO
National Excellence in Teacher Award : Fine and Applied Arts
HARC work shop World Heritage Experience 2020 -9th
งานประชุมหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคประชาชน กลุ่มศิลปินท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน แผนพัฒนาจังหวัด เพื่อการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร และร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นในการนำเสนองาน ร่างแผนแม่บทและโครงการนำร่องตัวอย่าง นำโดยหัวหน้าโครงการ รศ.สุรศักดิ์ กังขาว และคณะผู้ร่วมวิจัย ในช่วงกิจกรรมงานลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย ประจำปี 2563 ภายใต้โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับในพื้นที่มรดกโลกพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร สู่การพัฒนาเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลกในประชาคมอาเซียน ผ่านโครงการ
รศ. สุรศักดิ์ กังขาว เป็นผู้เชี่ยวชาญในการบูรณาการงานวิจัยในพื้นที่มรดกโลก ทั้งด้าน architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches and strategic models for UNESCO World Heritage Site in Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphang Phet โดยมีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติงานและการประกอบวิชาชีพเป็นเวลามากกว่า 30 ปี และเป็นบุคลากรผู้สร้างชื่อเสียงให้กับสถาบันมาโดยตลอด ทั้งด้าน สนับสนุนวิชาการ และการบูรณาการงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ นอกจากนี้ ได้เป็นผู้ก่อตั้งและริเริ่มโครงการการ mou บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ โครงการเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่าง 11 สถาบันการศึกษาภาคีเครือข่าย จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชร และ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เพื่อการบูรณาการงานวิจัยในพื้นที่มรดกโลกให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากทุกภาคส่วน
ASSOCIATE PROFESSORSURASAK KANGKHAO, Lecture , Architectural design , Urban designer , Research and Development in UNESCO World Heritage Sites Art and Culture is an associate professor of architectural education at KMITL. King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) Ladkrabang, Thailand
is an associate professor of architectural education at KMITL. He earned his B.S. in Architecture from University of San Augustin, Philippines, and M.Arch. from the University of Philippines, Diliman. His scholarly interests range from architecture and culture, urban and rural planning, creative economy, design pedagogy, to vernacular arts and crafts. At present, Surasak is directing a series of multi-disciplinary researches on strategic models for creative tourism in Sukhothai, Si Satchanalai and Kamphaeng Phet historic park and the adjacent UNESCO World Heritage Site. Apart from his academic career, he is a licensed architect with extensive experiences in professional practice